Manic Episode คือ: อยากทราบรายละเอียดของโรค Manic Episode และการรักษาโรคดังกล่าว ว่ามีแนวทางการรักษาอย่างไร ควรใช้ยาอะไร ให้มีประสิทธิภาพดีที่สุด และอยากทราบ Guidelines เกี่ยวกับการรักษาโรคนี้

A national clinical guideline ซึ่งสามารถหา ได้จากเว็บไซต์ - The American Academy of Child and Adolescent Psychiatry - Practice parameter for the assessment and treatment of children and adolescents with bipolar disorder. J Am Acad Child Adolesc Psychiatry 2007;46:107-25. แต่อย่างไรก็ดี guideline ที่ใช้ตามแต่ละโรงพยาบาลอาจจะแตกต่างไปจากที่ระบุไว้ข้างต้น เนื่องจากความเหมาะสมหรือความพร้อมของแต่ละแห่งอาจไม่เหมือนกันครับ Reference: 1. Sudak D, Mechaber AJ. Bipolar disorder [Online]. 2007 Aug 23. Avilable from: MD consult; 2009. [cited 2009 Oct 27]. 2. Reed C, Novick D, Pinto AG, Bertsch J, Haro JM. Observational study designs for bipolar disorder — What can they tell us about treatment in acute mania?. Prog Neuropsychopharmacol Biol Psychiatry 2009;33:715-21. 3. Rapoport SI, Basselin M, Kim HW, Rao JS. Bipolar disorder and mechanisms of action of mood stabilizers. Brain Res Rev 2009;61:185-209. Keywords: -

ไบโพลาร์ (Bipolar Disorder) โรคอารมณ์สองขั้วที่มากกว่าแค่อารมณ์เปลี่ยนไปมา

ใช้ยาเสพติดหรือดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ผู้ป่วยโรคไบโพล่าร์ส่วนมากจะเริ่มต้นใช้ยาเสพติด กินเหล้า หรือใช้ทั้งสองอย่างร่วมกัน เพื่อช่วยคลายอาการซึมเศร้าระหว่างที่อยู่ในช่วง ซึมเศร้า แต่พอใช้วิธีการแบบนี้บ่อย ๆ เพื่อบำบัดความซึมเศร้า มักจะนำไปสู่ภาวการณ์ติดสารเสพติด และยังเป็นอุปสรรคในการรักษาเพราะจะทำให้ประสิทธิภาพในการออกฤทธิ์ของยาลดลง 6. อารมณ์ดีมากเกินไป (ไฮเปอร์) การแสดงออกทางอารมณ์ที่ดีมากเกินไปอาจเป็นสัญญาณของโรคไบโพล่าร์ได้เช่นกัน อาการนี้จะเกิดขึ้นสลับกับภาวะซึมเศร้า ผู้ป่วยเหล่านี้อาจจะแค่รู้สึกค่อนข้างดี คล้าย ๆ กับคนปกติและสามารถใช้ชีวิตประจำวันอย่างมีประสิทธิภาพ 7. นอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ เป็นเรื่องปกติที่โรคไบโพล่าร์จะมีผลข้างเคียงต่อการนอนของผู้ป่วย คนที่เคยมีประสบการณ์ของภาวะฟุ้งพล่าน จะมีปัญหาในการนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอแต่จะไม่เคยรู้สึกเหนื่อยล้า ในทางกลับกัน ช่วงที่ผู้ป่วยมีภาวะซึมเศร้าจะนอนหลับมากขึ้นแต่ยังรู้สึกเหน็ดเหนื่อยอยู่ดี 8. มีพฤติกรรมที่สม่ำเสมอ ไม่คิดหน้าคิดหลัง เวลาที่ผู้ป่วยโรคไบโพล่าร์อยู่ในช่วง ฟุ้งพล่าน มักจะมีความเชื่อมั่นในตัวเองสูงมาก จึงทำให้มักจะแสดงกิริยาโอ้อวด ซึ่งจะเป็นสาเหตุทำให้ผู้ป่วยแสดงออก โดยที่ไม่คำนึงถึงผลกระทบต่าง ๆ ที่จะตามมาในภายหลัง และอาจมีการแสดงออกในรูปแบบของพฤติกรรมอื่น ๆ ร่วมด้วยเช่นกัน ลักษณะพฤติกรรมและอาการต่างๆที่ได้ระบุไว้ข้างต้นคือสิ่งที่สามารถพบเห็นได้ทั่วไปในผู้ป่วยโรคไบโพล่าร์ แต่อาการต่าง ๆ เหล่านี้ก็อาจเป็นสัญญาณของโรคอื่นได้ด้วยเช่นกันโรคไบโพล่าร์สามารถรักษาได้ หากได้รับการรักษาที่ตรงจุดและถูกวิธีจากผู้เชี่ยวชาญซึ่งจะทำให้ผู้ป่วยสามารถใช้ชีวิตตามปกติได้อย่างมีความสุข

  1. 20 โปรโมชั่นวาเลนไทน์ต้อนรับเทศกาลแห่งความรัก
  2. Manic episode คือ english
  3. Manic episode คือ eng
  4. อยากทราบรายละเอียดของโรค manic episode และการรักษาโรคดังกล่าว ว่ามีแนวทางการรักษาอย่างไร ควรใช้ยาอะไร ให้มีประสิทธิภาพดีที่สุด และอยากทราบ Guidelines เกี่ยวกับการรักษาโรคนี้
  5. BIPOLAR DISORDER โรคอารมณ์แปรปรวน: BIPOLAR DISORDER โรคอารมณ์แปรปรวน
มีปัญหาในการทำงานให้สำเร็จ ผู้ป่วยไบโพล่าร์จะไม่มีปัญหาในการเริ่มต้นทำงานต่าง ๆ แต่เมื่ออารมณ์ของผู้ป่วยเริ่มเปลี่ยนแปลง การทำงานให้สำเร็จลุล่วงจะเป็นเรื่องที่ยากขึ้นเรื่อย ๆ เพราะฉะนั้นงานต่าง ๆ ที่ยังค้างคา คือหนึ่งในสัญญาณที่กำลังบอกว่าคุณอาจจะเป็นโรคไบโพล่าร์ แต่ก็ไม่ใช่ทุกคนที่เป็นโรคไบโพล่าร์จะมีอาการนี้เพราะมีหลายคนที่สามารถเรียนรู้วิธีการจัดการตัวเอง และพัฒนาให้เป็นคนขยันในขณะที่กำลังเป็นไบโพล่าร์ 2. มีอาการต่างๆของโรคซึมเศร้าแทรกซ้อนของโรคไบโพล่าร์ ผู้ป่วยจะมีอาการลักษณะเดียวกับคนที่กำลังป่วยเป็นโรคซึมเศร้า เช่น ความอยากอาหารลดลง มีปัญหาเรื่องการนอนหลับ ไม่ค่อยมีสมาธิ ไม่มีเรี่ยวแรง 3. พูดเร็ว คนส่วนใหญ่พูดเร็วขึ้นเมื่อรู้สึกตื่นเต้น ถือว่าเป็นเรื่องที่ปกติ การพูดเร็วขึ้นเป็นสัญญาณหนึ่งของโรคไบไพล่าร์ จะพูดแทรกคนอื่นและไม่สนใจบทสนทนาของคนรอบข้างมักเปลี่ยนหัวข้อสนทนาอยู่บ่อย ๆ 4. หงุดหงิดง่าย ในบางกรณี คนที่เป็นไบโพล่าร์อาจจะมีอาการฟุ้งพล่านและภาวะซึมเศร้าพร้อม ๆ กัน เมื่อมีเหตุการณ์แบบนี้เกิดขึ้น จะหงุดหงิดง่ายมาก แต่ผู้ป่วยโรคไบโพล่าร์มักจะถึงจุดที่ความหงุดหงิดเริ่มส่งผลเสียต่อการใช้ชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในเรื่องของความสัมพันธ์ต่าง ๆ กับคนรอบข้าง 5.

March 26, 2018 SDN_Editorial คุณรู้สึกอารมณ์ดีมาก คึกคัก อยู่ๆ ก็มั่นใจในตนเองมากขึ้น กล้าทำในสิ่งไม่คิดว่า จะทำ พูดเร็วพูดไม่หยุด มีเรื่องที่คิดขึ้นมาได้มากมายตลอด แถมบางทียังช็อปจนหมดตัว บางทีรูดบัตรเครดิตจนเกลี้ยงเต็มวงเงิน ฟิตมาก ใครท้าอะไรก็ทำ แถมยังไม่รู้สึกง่วงไม่ค่อยจะอยากนอน หรือบางทีก็หงุดหงิดขึ้นกว่าแต่ก่อน แต่ มันก็น่าแปลกนะ!

English

manic episode คือ english
6 ของประชาชนชาวอเมริกา หรือประมาณ 600, 000 คน จะมีโรคอารมณ์สองขั้วอยู่ และจากข้อมูลของ NIMH พบว่ามีมากกว่าร้อยละ 80 ที่ถูกจัดว่ามีอาการรุนแรง แพ็กเกจที่คุณอาจสนใจ ปรึกษาสุขภาพจิต วันนี้ ที่คลินิกหรือรพ. ใกล้บ้านคุณ เริ่มต้นที่ 864 บาท ลดสูงสุด 336 บาท จองผ่าน HD ประหยัดกว่า / จ่ายทีหลังได้ / ผ่อน 0% ได้ / พร้อมแอดมินคอยตอบทุกคำถาม! กด โรคอารมณ์สองขั้ว หรือเพียง จิตอารมณ์คลุ้มคลั่งและซึมเศร้า (Manic Depression)? คุณอาจเคยได้ยินชื่อ "จิตอารมณ์คลุ้มคลั่งและซึมเศร้า (Manic depression)" ที่ใช้อธิบายถึงโรคสุขภาพทางใจที่มีอาการคล้ายกับโรคอารมณ์สองขั้ว ความจริงแล้วโรคอารมณ์สองขั้วเคยถูกเรียกว่า จิตอารมณ์คลุ้มคลั่งและซึมเศร้า (Manic depression) จนกระทั่งช่วงปี คศ.

เผยแพร่ครั้งแรก 2 ม. ค. 2017 อัปเดตล่าสุด 17 พ. ย.

manic episode คือ 2

Online

โรคอารมณ์สองขั้ว หรือ ไบโพลาร์ (Bipolar Disorder) เคยรู้สึกว่าตัวเองมีอารมณ์แปรปรวน อารมณ์ร้าย สลับกับอารมณ์ดี จนส่งผลกระทบต่อการทำงาน หรือกระทบกับความสัมพันธ์ต่อคนรอบข้างบ้างไหม? เคยสงสัยไหมว่าอาการแบบนี้ถือว่าเป็นโรคไบโพลาร์หรือไม่ หายเองได้ไหม ต้องไปหาหมอหรือเปล่า? บทความนี้เราจะพาทุกคนไปรู้จักกับโรคไบโพลาร์ให้มากขึ้น โรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว (bipolar disorder) คืออะไร? "โรคไบโพล่าร์" (Bipolar Disorder) หรือโรคอารมณ์สองขั้ว คือโรคความผิดปกติทางอารมณ์แบบหนึ่งที่เกิดจากสารเคมีในสมองไม่สมดุล ทำให้ผู้ป่วยเกิดการแสดงออกของอารมณ์ที่ผิดปกติเป็นสองขั้ว คือซึมเศร้ามาก และคึกคักพุ่งพล่านมาก จึงเรียกโรคโบโพล่าร์ว่า "โรคอารมณ์สองขั้ว" ไม่ใช่เดี๋ยวดีเดี๋ยวร้าย เดี๋ยวสนุกเดี๋ยวซึม อย่างที่หลาย ๆ คนชอบเข้าใจกัน จากการศึกษาพบผู้ป่วยไบโพลาร์มากถึง 1.

จับสัญญาณอันตรายให้ทัน! คงไม่ดีแน่! หากปล่อยไว้ให้ตนเองเผชิญความเปลี่ยนแปลงในวันที่อารมณ์พุ่งขึ้นสูงจนยากควบคุม หรือดิ่งร่วงลงมาอย่างไร้แรงต้านทาน แต่จะให้ควบคุมก็คงไม่ใช่เรื่องง่ายเอาเสียเลย ในเมื่อเจ้าตัวการร้ายแอบซ่อนอยู่ข้างในสมองของเรา แล้วเราจะทำอย่างไรดีล่ะ? แม้ว่ากระบวนการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นภายใน การเข้าไปควบคุมอารมณ์ในระหว่างภาวะ Mania หรือ Depressive Episode คงเป็นเรื่องยาก แต่แท้จริงแล้วผู้ป่วยสามารถช่วยกันจับสัญญาณอันตรายก่อนที่จะอารมณ์จะเปลี่ยนขั้ว ได้โดยการ หมั่นสังเกตจาก พฤติกรรม และอารมณ์ของตนเองที่เปลี่ยนแปลงไปจากปกติ ตัวอย่างเช่น สัญญาณเตือนของ Depressive Episode รู้สึก … อยากอยู่คนเดียว ไม่อยากเจอหน้าใคร ทำไมคนอื่นช่างน่ารำคาญ!

Adjustment disorder with depressed mood มีภาวะกดดันนำมาก่อนเกิดอาการ ในโรคซึมเศร้าส่วนใหญ่ก็พบมีภาวะกดดันนำมาก่อนเช่นกัน แยกกันโดยความรุนแรง หากอาการไม่เข้าเกณฑ์การวินิจฉัยของโรคซึมเศร้า จึงจะวินิจฉัยว่าเป็น adjustment disorder 5. Bereavement บุคคลที่สูญเสียผู้ใกล้ชิดอาจมีอาการต่างๆ ของ major depressive episode ได้ อย่างไรก็ตามหากนานเกิน 2 เดือนแล้วยังไม่ดีขึ้น จะให้การวินิจฉัยว่าเป็นโรคซึมเศร้า การรักษา 1. การรับไว้รักษาในโรงพยาบาล ในรายที่อาการมาก เช่น กระวนกระวายมาก ไม่กินอาหาร ผอมลงมาก หรือมีความคิดฆ่าตัวตายบ่อยๆ ให้รับไว้รักษาตัวในโรงพยาบาล ในกรณีที่มีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายสูง ต้องมีผู้ดูแลใกล้ชิดตลอด 24 ชั่วโมง 2. การรักษาด้วยยา การรักษาแบ่งออกเป็น 3 ระยะตามการดำเนินโรค ก. การรักษาระยะเฉียบพลัน เป็นการรักษาเริ่มตั้งแต่เมื่อผู้ป่วยมาพบขณะมีอาการไปจนถึงหายจากอาการ คือเข้าสูระยะ remission ยาหลักที่ใช้ในการรักษาได้แก่ ยาแก้ซึมเศร้า ขนาดที่นิยมใช้ในปัจจุบันได้แก่ fluoxetine เนื่องจากมีผลข้างเคียงต่ำ กินเกินขนาดไม่เสียชีวิต เริ่มโดยให้ขนาด 20 มก. กินวันละ 1 มื้อหลังอาหารเช้า ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการกระวนกระวาย หรือวิตกกังวลมากร่วมด้วยอาจให้ diazepam 2 มก.

2. 6 Schizoaffective Disorder เป็น episodic disorder ที่มีทั้งอาการของ schizophrenia และ affective เป็นอาการเด่นเกิดขึ้น ช่วงเดียวกัน ไม่สามารถให้การวินิจฉัยเป็นโรคใดโรคหนึ่งได้ 3. กลุ่มโรคจิตที่มีความผิดปกติด้านอารมณ์ (Mood (affective) disorders) โรคกลุ่มนี้ประกอบด้วย โรคที่มีความผิดปกติทางด้านอารมณ์เป็นหลัก อาจออกมาในรูปของอารมณ์เศร้าหรืออารมณ์สนุกสนานมากกว่าปกติ การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์มักมีการเปลี่ยนแปลงระดับของกิจกรรมทั้งหมดร่วมด้วย อาการอื่นก็เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์และกิจกรรมส่วนใหญ่ของโรคกลุ่มนี้มีแนวโน้มจะเป็นซ้ำ onset ของการเป็นซ้ำแต่ละครั้งสัมพันธ์กับเหตุการณ์ที่ก่อนความ ตึงเครียด 3. 1 Manic episode โรคย่อย ๆ ทั้งหมดต่อไปนี้ควรใช้เฉพาะการเป็นครั้งเดียว (single episode) hypomanic หรือ manic episodes ที่เคยมี affective episodes (depressive, hypomanic, manic, or mixed) ในครั้งก่อน ๆ ควรจัดไว้ในกลุ่ม bipolar affective disorder. 3. 1. 1 Hypomania มีลักษณะคือ มีอาการอยู่ยาวนาน มีอารมณ์ดีขึ้นชัดเจน ชอบเข้าสังคมมากขึ้น ช่างพูดมากขึ้น คุ้นเคยกับคนง่ายมาก มีพลังทางเพศสูงขึ้น ต้องการนอนน้อยลง อาการต่าง ๆ เหล่านี้ไม่มากจนทำให้เกิดผลเสียหายร้ายแรงต่องานที่ทำ หรือทำให้สังคมรังเกียจ ความผิดปกติทางอารมณ์และพฤติกรรมลักษณะนี้ไม่มีอาการหลงผิดหรือประสาทหลอนร่วมด้วย 3.

  1. อาหาร อร่อย ๆ ๆ ภาษาอังกฤษ
  2. การ แก้ น้ำกระด้าง
  3. หนัง the green mile 2019
  4. เหรียญ หลวง พ่อ เกิด วัด โพธิ์ แทน รุ่น แรก
  5. คอน เก รท ยาสีฟัน colgate